วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

On the Problem and Strategies at Multimedia Technology in English Teaching ( ปัญหาและกลยุทธ์ชองเทคโนโลยีสื่อประสมในการสอนภาษาอังกฤษ)

          

1. การวิเคราะห์ในการจำเป็นของการใช้สื่อประสม เข้ามาช่วยในการสอนภาษาอังกฤษ                                                         
        A. การสร้างความสนใจ / กระตุ้นในการเรียน                                           -   การใช้เทคโนโลยีสื่อประสมเข้ามามีบทบาทในการใช้ภาพ, เสียง,ภาพเคลื่อนไหว ซึ่งทำให้สิ่งเหล่านี้ เป็นส่วนที่สร้างประสบความสำเร็จ และนักเรียนจะให้ความสนใจ เกิดการกระตุ้นในการเรียน เข้ามาเกี่ยวข้องกิจกรรมในห้องเรียนของพวกเขา                                                  
        B. ส่งเสริมความสามารถการสื่อสารของนักเรียน                       -  นักเรียนจะต้องมีความเข้าใจทางด้านภาษาอย่างชัดเจน รวมไปถึงเข้าใจโครงสร้าง ,ความหมายและหน้าที่ของภาษา การสอนภาษาอังกฤษในมหาวิทยาลัยสามารถกระตุ้นนักเรียนเกิดการคิด , การเห็นและความชัดเจนในการเปลี่ยนแปลงในการเรยีนรู้ภาษาอังกฤษ เช่นกิจกรรมในห้องเรียนต้องให้นักเรียนมีการอภิปรายกลุ่มโดยไม่จำเป็นต้องใช้สื่อประสมเพียงอย่างเดียว            
         C. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจระหว่างวัฒนธรรมตะวันตกได้                                       -  สื่อประสมเป็นส่วนที่ช่วยนักเรียนมีความรู้ข้อมูลมากมาย โดยเฉพาะ CDทำให้เข้าใจก้าวไกลมากกว่าในหนังสือ ซึ่งสามารถแสดงให้เห็นเป็นวัตถุที่เป็นขิงจริง ไม่เพียงเท่านั้นผู้เรียนสามารถปรับปรุงทางด้านทักษะการฟังเช่นเดียวกับวัฒนธรรมตะวันตก
         D. การพัฒนาผลการสอน                                                                                         -  การใช้สื่อประสมในการสอน จะต้องใช้เวลาในการเรียนให้ดีที่สุด โดยต้องใช้ครูเป็นสื่อกลาง ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด เนื่องจากผู้เรียนมีมาก ครูจะต้องห้องเรียนขนาดใหญ่ (Sound – Lab )     แบบอย่างวัฒนธรรมในการสอนอจะต้องจัดหาข้อมูลอย่างจำกัด แต่ในทางตรงกันข้ามเทคโนโลยีสื่อประสมได้ก้าวไกล ในการสร้างอย่างชัดเจนสำหรับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เป็นการให้นักเรียนเกิดการกระตุ้น มีความคิดริเริ่มและเป็นการประหยัดเวลาในห้องเรียน                                        

2. ปัญหาของการใช้สื่อประสมในการสอนภาษาอังกฤษ                                                      

           A. วิธีหลักของการแทนที่ในการให้ความช่วยเหลือ                                                   -  การประยุกต์ของเทคโนโลยีสื่อประสมคือ การช่วยทำให้ครูมีบทบาทลดลง ซึ่งสางผลกระทบต่อการสอน ครูไม่สามารถเป็นผู้นำ/บทบาทในการสอน  จะสังเกตได้ว่า ครูจำนวนมากจะกระตือรือร้นในการใช้เทคโนโลยีในการหาข้อมูล และเมื่อมาสอนในห้องเรียน ครูก็ยังคงใช้คอมพิวเตอร์ในการสอน ส่วนนักเรียนจะให้ความสนใจบนหน้าจอคอมพิวเตอร์  ดังนั้นครูกับนักเรียนจึงขาดปฏิสัมพันธ์ ซึ่งกับและกันจะต้องระมัดระวังในการใช้
               
B. การสูญเสียในการสื่อสาร                                                                                    - ในการเรียนการสอนจะต้องมีการพูดกันตลอดเวลา ซึ่งอาจจะส่งผลให้การบกพร่องทางการสื่อสารมีโอกาสน้อย การพูดของครูนั้นจะถูกบดบังด้วยเทคโนโลยีสื่อประสม                            
 C. ศักยภาพการคิดของนักเรียนลดน้อยลง                                                               - ในการสอนทางด้านภาษา จะต้องมีการถาม-ตอบตลอดเวลาระหว่างครูกับนักเรียน ซึ่งครูจะเป็นผู้ถามคำถาม เพื่อเป็นการชี้แนวทางให้นักเรียนคิด แต่การเรียนของนักเรียนไม่มีผลตอบกลับ ดังนั้นเกิดการเพิกเฉยและการให้ความสำคัญของการสอน
  D. ความคิดแบบนามธรรมจะถูกแทนที่เป็นภาพหมดไม่ได้คิด                                    เทคโนโลยีสื่อประสมทำให้ทุกอย่างง่ายไปหมด ซึ่งทำให้การสอนเข้าใจอย่างชัดเจน ขณะที่มีภาพการจินตนาการของนักเรียนที่มันแสดงอยู่บนจอภาพที่ความคิดแบบนามธรรมของนักเรียน ต้องถูกใช้อย่างจำกัด ในการต้องหาเหตุผล ซึ่งเป็นสิ่งที่บั่นทอนทางด้านความคิด แม้กระทั่งการอ่านแทนที่จะเป็นตัวอักษรเป็นคำ ต้องแทนที่ด้วยเสียงภาพ รวมไปถึงการเขียนด้วยมือ ถูกแทนที่การพิมพ์ข้อมูลโดยการใช้แป้นพิมพ์

วันจันทร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

Exercise: acronymsDirections: Find words or phrases standing for the following acronyms with short descriptions.


Directions: Find words or phrases standing for the following acronyms with  short descriptions.
1. IT  (information technology) 
             IT เป็นคำศัพท์ที่รวมรูปแบบทั้งหมดของเทคโนโลยีที่ใช้สร้าง เก็บ แลกเปลี่ยน และใช้สารสนเทศในรูปแบบหลากหลาย (ข้อมูลทางธุรกิจ สนทนาทางเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว การนำเสนอแบบมัลติมีเดีย และรูปแบบอื่นๆ) ศัพท์คำนี้เข้าใจอย่างง่ายหมายถึงเทคโนโลยีโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ในคำเดียวกัน สิ่งนี้เป็นเทคโนโลยีที่กำลังขับเคลื่อนสิ่งที่เรียกว่า การปฏิวัติสารสนเทศ
  Reference :  http://www.com5dow.com/

2.ICT (Information  Communication  Technology)
 
 -Information           สารสนเทศ, สารนิเทศ, ในบางครั้งหมายถึงข้อมูล
-Communication      การสื่อสาร
-Technology             เทคโนโลยี
                   เทคโนโลยีที่ช่วยในการรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบ จัดหมวดหมู่ เรียงลำดับ สรุป คำนวณ จัดเก็บ ค้นคืน จัดทำสำเนา และแพร่กระจาย หรือสื่อสาร ข้อมูล ทำให้ข้อมูลกลายเป็นสารสนเทศที่ดี มีความถูกต้อง ตรงตามความต้องการ และเกิดคุณค่าต่อผู้ใช้                       เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) หมายถึง เทคโนโลยีทั้งหลาย (โดยมีเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การสื่อสาร และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นหลัก) ที่ทำหน้าที่ใน การจัดการข้อมูล ได้แก่ การนำข้อมูลเข้า การประมวลผลข้อมูล ให้ได้ผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ และเผยแพร่ต่อไปยังผู้บริโภค หรือผู้ใช้ ให้สามารถได้ใช้ผลผลิตนั้น อย่างถูกต้อง ตรงและทันกับความต้องการ เราสามารถใช้ติดต่อสื่อสารหาข้อมูล ความรู้ในการศึกษา กับสถาบันทั้งในและต่างประเทศได้ เพื่อหาความรู้และโลกทัศน์ใหม่ๆได้

3. CAI  ( Computer  Assisyed  Instruction )
              องค์ความรู้ในลักษณะที่ ใกล้เคียงกับการสอนจริงในห้องเรียนมากที่สุดโดยมีเป้าหมายที่สำคัญก็คือ สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียน และกระตุ้นให้เกิดความต้องการที่ จะเรียนรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นตัวอย่างที่ดีของสื่อการศึกษาในลักษณะตัวต่อตัว ซึ่งผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์ หรือการโต้ตอบพร้อมทั้งการได้รับผลป้อนกลับ    (FEEDBACK) นอกจากนี้ยังเป็นสื่อ ที่สามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียนได้เป็นอย่างดี รวมทั้งสามารถที่จะประเมิน และตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนได้ตลอดเวลา 

4. CALL คอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนภาษา ( Computer-Assisted Language Learning )
               หมายถึงโปรแกรมช่วยเรียนภาษาโดยเฉพาะ ใช้ได้ทั้งกับการเรียนในห้องเรียน โดยมีผู้สอนเป็นผู้ควบคุมดูแลกระบวนการเรียน และการให้ผู้เรียนเรียนจากโปรแกรมด้วยตนเองที่ศูนย์การเรียนรู้ดวยตนเอง (Self-access learning center) หรือที่ศูนย์คอมพิวเตอร์และสำหรับสถานศึกษาทีมีความพร้อมก็อาจมอบแผ่นโปรแกรมให้ผู้เรียนนำไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์นอกสถานศึกษาโดยผ่านโมเด็มและสายโทรศัพท์

5. WBI  ( Web Base Instruction )                                                                                                   เป็นการจัดกิจกรรมการสอนในรูปแบบของ Web Knowledge Based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา หรือ ดำเนินกิจกรรม หรือที่เรานิยมเรียกกันติดปากว่า "การเรียนการสอนแบบ Online"

6. CBI  ( Computer-Based Instruction )  การใช้คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หลักในการสอน       หมายถึง วิธีการสอนหรือการฝึกหัดใด ๆ ที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อ บางทีอาจเรียกว่าการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อ, การเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์, การฝึกหัดโดยใช้คอมพิวเตอร์

7. CCM  (Computer Mediated Communication )     การติดต่อสื่อสารกันของมนุษย์โดยอาศัยระบบเครือข่ายบนคอมพิวเตอร์            *   เป็นตัวเชื่อมโยงการปฏิสัมพันธ์กันระหว่างบุคคล หรือกลุ่ม ซึ่งมีหัวใจสำคัญ คือ การใช้ตัวอักษร(Text-Messeging) หรือภาษาที่สร้างขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้แต่ละบุคคลหรือกลุ่มนั้นๆ
                *   เป็นการติดต่อสื่อสารโดยปรากฏตัวผ่านรูปแบบสื่อคอมพิวเตอร์ เช่น    Instant  messages,E-mail, Chat room  และยังได้รับการปรับใช้ใ นรูปแบบอื่นๆ ของการใช้ตัวอักษรเป็นหลัก เช่น Text Messaging หรือการส่ง SMS (short messege service)บนมือถือ ในการวิจัยเรื่อง CMC จะโฟกัสในเรื่องใหญ่ๆ คือ ผลตอบกลับทางสังคมที่ได้รับการสนับสนุนของเทคโนโลยีการสื่อสารที่แตกต่างกัน และเมื่อไม่นานมานี้มีการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตเป็นหลัก Social Networking ซึ่งได้รับการสนับสนุนโดย Social Software
  
Reference   :   http://www.thekanostudio.com/assignment_01cmc.html

8. TELL  (Technology-Enhanced Language-Learning)                                                                       in an increasingly globalised world. It is not a technical paper in thesense that it will deal with methodological or software issues. 
 Reference  :  http://www.stc.arts.chula.ac.th/ITUA/Papers_for_ITUA_Proceedings/Andrew-Lian.pdf
  

 
9. MUD ( Multi User Domains ) หรือ ( Multi User Dimension , Muti User Dungeons)                                     Reference  : http://senarak.tripod.com/mudmoo.html
 
10. MOO  ( Multiuser domain Object Oriented )                                                                            เป็นระบบของการสื่อสารที่เป็น แบบซิงโครนัสที่ผู้ใช้(users)    สามารถปฎิสัมพันธ์กันได้ด้วยการพิมพ์ข้อความ(text) โดยผู้สื่อสารกันนั้นสามารถ เลือกห้องหรือสถานที่สนทนากันได้
ซึ่งผู้สนทนาจะต้องอยู่ในสถานที่ที่เรียกว่า room เดียวกัน

Directions: Describe the following terms.
 
Synchronous Tool
            
Synchronous tools    enable real-time communication and collaboration in a "same time-different place" mode. These tools allow people to connect at a single point in time, at the same time. Synchronous tools possess the advantage of being able to engage people instantly and at the same point in time. The primary drawback of synchronous tools is that, by definition, they require same-time participation -different time zones and conflicting schedules can create communication challenges. In addition, they tend to be costly and may require significant bandwidth to be efficient.
    
 Asynchronous Tools   
                Asynchronous tools enable communication and collaboration over a period of time through a "different time different place" mode. These tools allow people to connect together at each person's own convenience and own schedule.                                                                                   Asynchronous tools are useful for sustaining dialogue and collaboration over a period of time and providing people with resources and information that are instantly accessible, day or night. Asynchronous tools possess the advantage of being able to involve people from multiple time zones. 


** Addition  **
      Internet มี เครื่องมือติดต่อสื่อสาร  (Communication)
                สำหรับการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  หรือผู้เรียนกับผู้เรียนเองนั้น  สามารถติดต่อถึงกันได้  2 แบบ คือ 
1.  แบบประสานเวลา  (Synchronous)  หมายความว่า  ผู้เรียน  ผู้สอน  อยู่    เวลาเดียวกันสามารถคุยโต้ตอบกันได้ผ่านการสนทนาออนไลน์  (Chat)  นั่นเอง  ในการสนทนาอาจใช้ได้ทั้งภาพ  วิดีโอพร้อมเสียง โดยผ่านโปรแกรมพวก  MSN , Skype , Video  conference ซึ่งกำลังได้รับความนิยมในประเทศไทย  ซึ่งมีข้อดีสามารถนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ได้เป็นอย่างดี
2.  แบบไม่ประสานเวลา  (Asynchronous) หมายความว่า  ผู้เรียน  ผู้สอนไม่ได้อยู่ที่เดียวกัน    เวลาเดียวกันแต่สามารถติดต่อสื่อสารถึงกันได้  โดยผ่านเครื่องมือที่เรียกว่า  Webboard , E-mail  นอกจากนี้ยังบันทึกความรู้  ความก้าวหน้าในการเรียน  สะท้อนความคิดลงบน  Weblog  หรือ  Blog  ได้อีกด้วย  ซึ่งปัจจุบันเครื่องมือทั้งสามชนิด  ได้ถูกนำมาใช้ร่วมกับการเรียนการสอนด้วย 
ซึ่งการสื่อสารทั้งสองรูปแบบสามารถนำมาใช้ร่วมกันเพื่อให้การจัดการเรียนสอนที่มีประสิทธิภาพได้  เช่น  ผู้สอนสามารถนัดเวลาให้ผู้เรียนเข้ามาร่วมกิจกรรม
โดยการอ่าน  พูด  เขียน  หรือนำเสนอผลงานแบบพบหน้ากันได้ผ่านช่องทาง Chat , Video  conference  หรืออาจให้ผู้เรียนค้นคว้าและสะท้อนความรู้ใหม่ที่ได้ค้นคว้ามาบน  Webboard , Blog , Wiki  เป็นต้น
REFERENCE : http://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd




 
 



วันเสาร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

Innovation Educational Technology In The Global Classroom ( เทคโนโลยีทางการศึกษาใหม่ในห้องเรียนระดับโลก )


โดยเดกซูน  คิม                                                                                                                                                               ในยุคโลกาภิวัตน์และเทคโนโลยีในการฝึกฝนทางการศึกษา ซึ่งครูนั้นจะต้องช่างคิด,สร้างสรรค์ และมอบหมาย ต้องตามให้ทันเทคโนโลยีในกรเปลี่ยนแปลงของโลกอย่างรวดเร็ว ครูทุกคนควรที่จะกระตุ้นในการใช้เทคโนโลยีการเรียนการสอน เป็นแนวทางปฏิบัติที่ดีในวิชาการสอนภาษาอังกฤษที่พูดภาษาอื่น  (TESOL)   ครูต้องหาภาษาอังกฤษสำหรับคนที่พูดภาษาอื่นๆ(ESOL) เพื่อที่ครูจะใช้ง่ายในการแก้ปัญหาและการเสนอข้อคิดในการสอนเทคโนโลยีในห้องเรียน ในวิชานี้เป็นส่วนที่ช่วยในการส่งเสริมการคิดวิเคราะห์เกี่ยวกับ จะบูรณาการอย่างไรให้เข้ากับบริบทของยุคโลกาภิวัฒน์ และจัดหาครูที่สอนภาษาอังกฤษสำหรับคนที่พูดภาษาอื่น(ESOL) กับการใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบใหม่ๆ
                           ในทุกวันนี้โลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนั้นแสดงถึงความแตกต่างในการตรวจสอบทางเลือกไปใช้ในห้องเรียนมันคือชีวิตอย่างหนึ่งเพราะครูในอนาคตต้องการรู้ ในการใช้เทคโนโลยีในการสอนเพื่อสอนให้นักเรียนผู้ซึ่งแสดงถึงคนรุ่นใหม่
                           การบูรณาการสอนที่สมบูรณ์ของครูเข้ากับสิ่งที่ได้รับหมอบหมายเป็นกี่แสดงหมายถึง การสอนในอนาคต เช่นแฟ้มกรณีศึกษาจิตวิทยา สามารถเป็นส่วนหนึ่งในการสอนเทคโนโลยีที่สมบูรณ์เช่น การถกเถียงในออนไลน์, โปรแกรม Blog และWikipediaสู่ประสบการณ์การเรียนรู้เพิ่มเติม และจัดหาหลักสูตรทีดีกว่า                                                                                                                                                                                                               คำแนะนำสำหรับเทคโนโลยีที่สมบูรณ์ในห้องเรียน                                                                                                                1. เสี่ยงเทคโนโลยีที่ใหม่ๆ                                                                                                                                                          2. คุ้นเคยกับเทคโนโลยีก่อนนำมาใช้มัน                                                                                                                                3. ใช้เทคโนโลยีกับการสอนอย่างระมัดระวัง                                                                                                                          4. สร้างสิ่งแวดล้อมในทางที่ดี                                                                                                                                                    5. งานวิจัยและใช้การสอนพิเศษที่หลากหลายและใช้Web sites อย่างเป็นประโยชน์

 คำย่อสำหรับในบทเรียนนี้                                                                                                                                                                ESOL    = English for Speaker of other Languages                                                                                                                        TESOL = Teaching English for Speaker of other Languages                                                                                                        ELL      = English Language Learner(s)                                                                                                                                           PDF  = Portable  Document Format (Adobe Acrobat)                                                                                                                       ESL = English  as a second Language                                                                                                                                         EFL   = English as a Foreign Language                                                                                                                                       ELT     =  English  Language Teaching    

TV Teacher

การเรียนพูดภาษาอังกฤษ

การสอนเน้นพูดภาษาอังกฤษ

Teacher TV อ.นิรมล